ขั้นตอนชำระภาษีรถยนต์ออนไลน์ 2567

ขั้นตอนชำระภาษีรถยนต์ออนไลน์ 2567

02 Aug 2024

               การจ่ายภาษีรถยนต์ก็เหมือนเป็นความรับผิดชอบของเจ้าของรถยนต์ทุกคน เพราะภาษีรถยนต์จะถูกนำมาสนับสนุนหน่วยงานคมนาคมให้สามารถทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และทำถนนหนทางทั่วประเทศให้ดียิ่งขึ้น เราทุกคนต่างก็ได้รับผลประโยชน์จาการที่มีถนนขับขี่รถยนต์ร่วมกัน ดังนั้น หากใครมีรถยนต์ก็จำเป็นต้องต่อภาษีรถยนต์ทุกปีตามที่กฏหมายกำหนด บทความนี้ Mr.OOHOO จะมาอัปเดตขั้นตอนชำระภาษีรถยนต์ออนไลน์ 2567 อย่างง่าย ไม่ซับซ้อนให้เพื่อน ๆ ทราบกันครับ 

               ต่อภาษีทุกปีแล้ว อย่าลืมต่อประกันรถยนต์กันด้วย เกิดเหตุฉุกเฉินยังอุ่นใจได้ มองหาประกันรถยนต์ราคาดี ที่ OOHOO.io แหล่งรวมประกันรถยนต์ ราคาดี พิเศษ! ให้คุ้มครองสูง พร้อมบริการช่วยเหลือฉุกเฉินฟรี! 

ขั้นตอนชำระภาษีรถยนต์ออนไลน์ 2567

1. เข้าเว็บไซค์ eservice.dlt.go.th    
2. ลงทะเบียนเพื่อขอรับรหัสผ่าน    
3. กรอกรายละเอียดเกี่ยวกับรถ    
4. กรอกรายละเอียดเกี่ยวกับหลักฐานการเอาประกัน ตาม พ.ร.บ คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 
(กรณี พ.ร.บ. ที่มีความคุ้มครองมากกว่า 3 เดือน)    
5. เลือกวิธีชำระเงิน 
6. กรมการขนส่งทางบก จะส่งใบเสร็จรับเงิน เครื่องหมายแสดงการเสียภาษี และ กรมธรรม์ พ.ร.บ คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ให้ผู้ชำระเงินทางไปรษณีย์    
7. เจ้าของรถสามารถนำใบคู่มือจดทะเบียนรถไปบันทึกได้ ณ หน่วยงานทะเบียนกรมการขนส่งทางบก ทั่วประเทศ

   

เงื่อนไขยานพาหนะที่จะใช้บริการ    
1. รถเก๋ง รถตู้ รถกระบะ และรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล    
2. รถเก๋ง รถตู้ รถกระบะ จดทะเบียนไม่เกิน 7 ปี    
3. รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล จดทะเบียนไม่เกิน 5 ปี    
4. เป็นรถจดทะเบียนจังหวัดใดก็ได้    
5. รถที่ค้างชำระภาษีไม่เกิน 1 ปี และชำระภาษีล่วงหน้าไม่เกิน 3 เดือน    

อัตราค่าบริการ
- ค่าจัดส่งเอกสาร รายการละ 32 บาท    
- ค่าธรรมเนียมธนาคาร รายการละ 20 บาท    
- ค่าธรรมเนียมการใช้บัตร (กรณีชำระด้วยบัตรเครดิต) ร้อยละ 2 รวม Vat 7% ของค่าธรรมเนียม



ซื้อประกันรถยนต์ที่ OOHOO ดีอย่างไร

ผ่อนเงินสด 0% ไม่มีบัตรเครดิตก็ผ่อนได้

ผ่อนเงินสด 0%
ไม่มีบัตรเครดิตก็ผ่อนได้

การันตีราคาถูกที่สุด เจอที่อื่นถูกกว่าเราพร้อมคืนเงินทันที

การันตีราคาถูกที่สุด
เจอที่อื่นถูกกว่าเราพร้อมคืนเงินทันที

เปรียบเทียบได้เลย เช็คราคา ความคุ้มค่าก่อนสั่งซื้อ

เปรียบเทียบได้เลย
เช็คราคา ความคุ้มค่าก่อนสั่งซื้อ

ซื้อเองได้ 24 ชั่วโมง ไม่ต้องมีเจ้าหน้าที่โทรตาม

ซื้อเองได้ 24 ชั่วโมง
ไม่ต้องมีเจ้าหน้าที่โทรตาม

รับกรมธรรม์ได้เลย ผ่านระบบออนไลน์

รับกรมธรรม์ได้เลย
ผ่านระบบออนไลน์

เจ้าหน้าที่พร้อมบริการด้วยใจ เมื่อคุณต้องการคำแนะนำ

เจ้าหน้าที่พร้อมบริการด้วยใจ
เมื่อคุณต้องการคำแนะนำ



ช่องทางการชำระภาษีรถยนต์ออนไลน์ 2567
1.บัญชีเงินฝาก (ต้องมีบัญชีเงินฝากและเป็นสมาชิกใช้บริการโอนเงินผ่านระบบอินเทอร์เน็ตกับธนาคาร/หน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการ)    
2.ด้วยบัตรเครดิต/บัตรเดบิต (ต้องเป็นผู้ถือบัตรเครดิต/บัตรเดบิต ที่มีสัญลักษณ์ VISA , MASTER)
3.เคาน์เตอร์หรือตู้ ATM ของธนาคารที่เข้าร่วมโครงการ    
ธนาคาร/หน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการ    
- บริการหักบัญชีออนไลน์ ได้แก่ ธ.กรุงไทย , ธ.กรุงศรีอยุธยา และ ธ.ยูโอบี    
- บริการชำระด้วยบัตรเครดิตออนไลน์ ได้แก่ ธ.กรุงเทพ และ ธ.กรุงศรีอยุธยา    
- บริการรับชำระตามใบแจ้งชำระภาษีรถ    
* ที่เคาน์เตอร์ธนาคารบริการ ได้แก่ ธ.กรุงไทย , ธ.กรุงเทพ , ธ.ธนชาต , ธ.ก.ส ,    ธ.ซีไอเอ็มบี ไทย , ธ.กรุงศรีอยุธยา , ธ.ทหารไทย , ธ.ยูโอบี , ธ.ไทยพานิชณ์ , บริษัทเคาน์เตอร์เซอร์วิส, ทรู มันนี่ เซอร์วิส และ โลตัส    
* ชำระที่ตู้ ATM ได้แก่ ธ.กรุงไทย , ธ.ธนชาต , ธ.กรุงเทพ , ธ.ทหารไทยม , ธ.ซีไอเอ็มบี ไทย, ธ.กรุงศรีอยุธยา, ธ.ยูโอบี และ ธ.ไทยพาณิชย์    
- บริการรับชำระทางโทรศัพท์มือถือ ได้แก่ ทรู มันนี่ เซอร์วิส


               ทุกวันนี้ ทำอะไรก็ง่ายยิ่งขึ้น เมื่อสามารถทำแบบออนไลน์ได้ ไม่เว้นแม้แต่ การต่อภาษีออนไลน์ 2567 เรื่องสำคัญที่ไม่ควรละเลย เพราะการเสียภาษีให้กับส่วนรวม เราก็จะยิ่งได้รับผลประโยชน์จากการมีถนนดี ๆ ใช้งานนั่นเอง


                สุดท้าย ทำเพื่อส่วนรวมไปแล้ว อย่าลืม ทำ ประกันรถยนต์ เพื่อรถยนต์คันโปรดที่เรารักกันด้วย มองหาประกันรถยนต์ชั้น 1 คุ้มครองครบ ทุนประกันสูง ที่สำคัญ ผ่อนเงินสด 0% สูงสุด 10 เดือน*หารเท่า ที่ OOHOO.io แหล่งรวมประกันรถยนต์ชั้นเยี่ยมจากหลากหลายตัวเลือกบริษัทประกันชั้นนำยอดนิยม เลือกได้ ซ่อมอู่ ซ่อมห้าง เทียบราคาฟรี ตลอด 24 ชั่วโมง คุ้มครองทันที รับกรมธรรม์ออนไลน์หลังกดซื้อ 
*เงื่อนไขเป็นไปตามที่บริษัทกำหนด


ที่มาข้อมูล : กรมการขนส่งทางบก


บทความที่น่าสนใจ
พ.ร.บ. รถยนต์ คุ้มครองอะไรบ้าง? 
เช็กคะแนนใบขับขี่ออนไลน์  
ภาษีรถยนต์ VS พ.ร.บ. รถยนต์ ต่างกันอย่างไร?